โครงร่างงานวิจัย (Proposal) ที่ควรรู้
1 min readเมื่อเราคิดที่จะทำวิจัย สิ่งที่จะช่วยกำหนดความคิดให้มีระบบเป็นขั้นเป็นตอน คือ โครงร่างงานวิจัย โดยส่วนใหญ่ผู้ทำวิจัยจะเขียนโครงร่างฯ ซึ่งมีส่วนประกอบหลักๆ ได้แก่
1. ชื่อโครงการ
2. วัตถุประสงค์
3. หลักการและเหตุผล
4. การทบทวนวรรณกรรม
5. วิธีการวิจัย
6. ตารางการดำเนินงาน
7. บรรณานุกรม
8. งบประมาณ
เอกสารอ้างอิง
- เคล็ดไม่ลับ R2R บริบทคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล : โครงการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์ยูเนียน ครีเอชั่น จำกัด
- เคล็ดไม่ลับคุณอำนวย ฟันเฟืองขับเคลื่อน R2R : โครงการสนับสนุนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยระดับประเทศ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ร่วมกับ โครงการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์ยูเนียน ครีเอชั่น จำกัด
- 10 ขั้นง่ายๆ วิจัยเชิงคุณภาพ : นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์สุขศาลา สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ
- R2R Newsletter ฉบับปฐมฤกษ์ : โครงการสนับสนุนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยระดับประเทศ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
- การประเมินประสิทธิผลเทคโนโลยีสุขภาพจิต : สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต. พิมพ์ครั้งที่ 1 บริษัท เบสท์ สเต็ป แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง จำกัด
เรื่องที่เกี่ยวข้อง:
เว็บสำหรับค้นหาสถานที่ตรวจโควิดในประเทศไทย หรือ ในกรุงเทพฯ
หนีห่างอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ด้วย 7 อาหารแสนอร่อย
ความดันโลหิตสูง คร่าชีวิตไทยแล้ว เกือบ 4 พันราย
2 กองทุนของประกันสังคมที่คุ้มครองชีวิตคนทำงาน
เลือกยางรถยนต์ให้เหมาะกับรถของคุณ
วิธีแก้ปัญหารถสตาร์ตไม่ติด
หน้าที่ของผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุด
ภาวะโรคแพ้ภูมิ ภูมิแพ้ (Autoimmune) และการดูแลตัวเอง
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
‘บริจาคโลหิต ต่อชีวิต ด้วยการให้’ และรู้ไหมมีประโยชน์อีกมากมาย
นโยบายงดแจกถุงพลาสติกกระทบยอดขายห้าง-ร้านสะดวกซื้อ
แบบฟอร์มกลางเพื่อใช้ในการประกันภัย